Page 14 - ฉบับที่ 3-66-E-Book_วารสาร_พลาสติก_พฤษภาคม-มิถุนายน 2566
P. 14
การชุบผิิวพลาสติิกด้วยโลห้ะที�นิยมทำกันมาก ได้แก่ การชุบโดยวิธีีอิเล็กโทรไลติ์ ซึ่ึ�งสามารถชุบให้้ห้นาได้ถึง 40 µm
การชุบแบบนี้แบ่งออกเป็นสองข้ั้นติอนคือ
1. ทาผิิวด้วยสารที�เป็นสื�อไฟฟ้าในทางเคมี
2. ทำการชุบผิิวในอ่างอิเล็กโทรไลติ์
การทำงานแติ่ละข้ั้นติอนเป็นดังนี้
กัดผิิวชิ้นงานพลาสติิกด้วย chromic sulfuric acid แล้วล้างกรดด้วย ironsulfate เสร็จแล้วทำผิิวให้้ไวติ่อปฏิิกิริยา
เคมีโดยจุ่มลงในสาร palladiumchloride แล้วให้้ปฏิิกิริยาเคมีกับนิกเกิลห้รือทองแดง (ส่วนให้ญ่่ใช้นิกเกิล) ให้้เป็นผิิวโลห้ะ
ซึ่ึ�งสามารถจะนำไปชุบผิิวโลห้ะโดยวิธีีอิเล็กโทรไลติ์ได้ส่วนให้ญ่่จะชุบผิิวโครเมียม
ข้ั้นติอนการชุบโดยวิธีีอิเล็กโทรไลติ์แสดงไว้ในรูปที� 2 พลาสติิกที�เห้มาะในการชุบเป็นพิเศษ ได้แก่ acrylonitrile-
butadien-styrene, polypropylene, polyethylene polyamide, polyoximethylene เป็นติ้น
พลาสติิกที�ชุบผิิวโครเมียมที�เราพบกันมากในปัจจุบัน ได้แก่ acrylonitrile-butadien-styrene พลาสติิกที�จะนำมาชุบ
ผิิวจะติ้องมีผิิวเรียบมาก และเป็นชิ้นเดียวกัน ความห้นาข้องชิ้นงานควรใกล้เคียงกันทั้งชิ้น ข้อบและมุมติ่าง ๆ จะติ้องมนโค้ง
(ใช้รัศมีอย่างน้อย 0.8-1.5 mm) รูที�มีเส้นผิ่านศูนย์กลางเล็กกว่า 5 mm จะชุบไม่ได้
กัดด้วยกรด & ล้าง
ใช้ chromic sulfuric acid
ฆ่าฤทธีิ�กรด & ล้างด้วย ironsulfate
ชุบสารเร่งปฏิิกิริยา
Palladiumchloride
ชุบทำปฏิิกิริยากับเคมีนิกเกิล ห้รือทองแดง
ชุบผิิวโลห้ะด้วยวิธีีอิเล็กโทรไลติ์
ก. ผิิวนิกเกิล
ข้. ผิิวทองแดง
ค. ผิิวโครเมียม
รููปที่่� 2 การชุุบผิิวพลาสติกโด้ยวิธีีอิเล็กโทรไลต์
ก�รแปะผิิว
ด้วยกรรมวิธีีแปะผิิวผิืนพลาสติิกห้รือชิ้นงานพลาสติิกจะทำให้้ได้ผิิวที�มีลักษณะติ่าง ๆ เช่น ห้นังสัติว์ป่าที�มีข้นติิดห้รือมี
คุณสมบัติิเป็นกำมะห้ยี� ห้รือ velour ในการแปะผิิวนี้จะติ้องใช้กาวทาลงบนผิิวข้องพลาสติิก แล้วโรยข้นห้รือเส้นใยที�ติัดสั้นลง
ไปแปะติิด
12 May-June 2023