Page 52 - ฉบับที่ 3-66-E-Book_วารสาร_พลาสติก_พฤษภาคม-มิถุนายน 2566
P. 52

รายงานสถิิติินำเข้้า-ส่งออก



                                การใช้สิทธิพิเศษ FTA เดือนมีนาคม 2566


                                               ❖ มูลค่าการใช้สิทธิสูงเป็นอันดับ 2 รองจาก ส.ค.65 ที่สูงเป็นประวัติการณ์ เดือนนี้อยู่ที่ 1.66 แสนลบ.
                                                  เพิ่มขึ้น 2.1 หมื่น ลบ. หรือ 14.9% YoY และกลับมาขยายตัวอีกครั้ง (เดือนก่อนหดตัว) จาก
                                                  ASEAN-China ไทย-ออสเตรเลีย และ RCEP โดยเฉพาะ ASEAN-China ขยายตัวสูงสุด 2.0 หมื่น ลบ.
                                                  (+39.6%) ขณะที่ JTEPA และATIGA ลดลงรวม 1.9 พัน ลบ. (-2.5%)
                                               ❖ สัดส่วนการใช้สิทธิต่อมูลค่าน าเข้ารวม 19.3% (ปีก่อน 16.6%)
                                               ❖ สินค้าที่ขยายตัวสูง ได้แก่ กลุ่มเหล็ก (แผ่นเหล็กรีดชุบหรือเคลือบ แผ่นเหล็กกล้าเจือรีด และแผ่นเหล็กรีดเย็น
                                                  ไม่เจือไม่ชุบ) กลุ่มยานยนต์ (รถยนต์นั่ง และรถจักรยานยนต์ มูลค่าสูงเป็นประวัติการณ์) กลุ่มเครื่องใช้ไฟฟ้า
                                                  (ลวดและเคเบิล แผงวงจรอิเล็กทรอนิกส์ และแบตเตอรี่) และกลุ่มธัญพืช (เกือบทั้งหมดข้าวบาร์เลย์ และข้าวโพด)
                                               ❖ สินค้าที่หดตัวสูง ได้แก่ ตัวเร่งปฏิกิริยาคะตะไลส์ นมและครีมที่เติมน้ าตาล (มูลค่าต่ าสุดในรอบ 17 เดือน)
                                                  และมันส าปะหลัง รวมถึงกลุ่มเครื่องจักรกล (รถขุดดิน ปั้นจั่น เครื่องยนต์ดีเซล (มูลค่าต่ าสุดในรอบ 32 เดือน))
                                     TOP 5 สินค้าที่สูงสุด (YoY)          สินค้าที่ใช้สิทธิเพิ่มขึ้น/ลดลง สูงสด (YoY)
                                   • รถยนต์นั่ง                        8,781 ลบ.  (+2.0 เท่า)  รถยนต์นั่ง                                       +5,835 ลบ. (2.0 เท่า)
                                                                              (ขยายตัว 13 เดือน)
                                                                                        (ขยายตัว 3 เดือน)
                                   • แผ่นเหล็กรีดชุบหรือเคลือบ    8,221 ลบ.  (+59.1%)  แผ่นเหล็กรีดชุบหรือเคลือบ                   +3,055 ลบ. (59.1%)
                                                                       แผ่นเหล็กกล้าเจือรีด                           +2,868 ลบ. (61.5%)
                                                                                    (ขยายตัวหลังจาก
                                   • แผ่นเหล็กกล้าเจือรีด            7,534 ลบ.  (+61.5%)  เดือนก่อนหดตัว)
                                                                       ตัวเร่งปฏิกิริยาคะตะไลส์ (หดตัว 2 เดือน)  -2,030 ลบ. (47.1%)
                                   • แผ่นเหล็กรีดร้อนไม่เจือไม่ชุบ  5,207 ลบ.  (-0.5%)  นมและครีมที่เติมน้ าตาล                         -888 ลบ. (65.9%)
                                                                                      (หดตัว 2 เดือน)
                                   • ส่วนประกอบยานยนต์          4,391 ลบ.  (-4.1%)  มันส าปะหลัง                 -760 ลบ. (21.8%)
                                                                                (หดตัวครั้งแรก
                                                                                รอบ 5 เดือน)
           รถยนต์นั่ง มูลค่าใช้สิทธิสูงเป็นประวัติการณ์ โดย ASEAN-China +14.7 เท่า (เดิม  ตัวเร่งปฏิกิริยาคะตะไลส์ หดตัวต่อเนื่องเป็นเดือนที่ 2 น าเข้าหลักจาก JTEPA ATIGA
           สัดส่วน 14% เป็น 72%) ขณะที่ ATIGA หดตัว (เดิมสัดส่วน 86% เหลือเพียง 28%)   และ ASEAN-Japan (สัดส่วนร้อยละ 66 20 และ 10 ตามล าดับ) หดตัวทั้งหมด
           แผ่นเหล็กรีดชุบหรือเคลือบมูลค่าสูงเป็นอันดับ 2 รองจาก ก.ค.64 ที่สูงเป็นประวัติการณ์  มันส าปะหลัง หดตัว 760 ลบ. (-21.8%) เป็นครั้งแรกในรอบ 5 เดือน เกือบทั้งหมดใช้สิทธิ
           ขยายตัวจาก ASEAN-ChinaATIGA(มูลค่า 637 ลบ. ปีก่อน 3 ลบ.) และ JTEPA   ATIGA โดยหดตัวสูงสุดจากกัมพูชา ขณะที่ลาวขยายตัว

                  อาเซียน-จีน (ASEAN-China)             อาเซียน (ATIGA)                      ไทย-ญี่ปุ่น (JTEPA)
                7.0 หมื่น ลบ.     39.6% YoY         4.5 หมื่น ลบ.     2.1% YoY        3.0 หมื่น ลบ.     3.2% YoY
                                                                                                 
                            
                                                               
         ❖ มูลค่าใช้สิทธิสูงเป็นอันดับ 2 รองจาก ส.ค.65 ที่สูงเป็น ❖ การใช้สิทธิแม้จะหดตัวเป็นครั้งแรกในรอบ 26 เดือน  ❖ การใช้สิทธิแม้จะหดตัว แต่มูลค่าใช้สิทธิสูงสุด
            ประวัติการณ์ และขยายตัวครั้งแรกในรอบ 4 เดือน อย่างไรก็ตาม  แต่มูลค่าใช้สิทธิสูงเป็นอันดับ 2 รองจาก มี.ค.65  ในรอบ 7 เดือน
            สัดส่วนการใช้สิทธิต่อมูลค่าน าเข้าจากจีน อยู่ที่ 32.4%  ที่สูงเป็นประวัติการณ์   ❖ สินค้าที่หดตัวจากตัวเร่งปฏิกิริยาคะตะไลส์ และ
            สูงเป็นอันดับ 2 รองจาก ม.ค.63 ที่สูงเป็นประวัติการณ์   ❖ คู่ค้าหดตัวเกือบทั้งหมด (ยกเว้น เวียดนาม ลาว   คอมเพรสเซอร์ มูลค่าต่ าสุดในรอบ 11 เดือน
         ❖ สินค้าที่ขยายตัวสูง ได้แก่ รถยนต์นั่ง +14.7 เท่า มูลค่าสูง  และเมียนมาร์ขยายตัว โดยเวียดนามขยายตัวสูงสุด)   รวมถึง เครื่องยนต์ดีเซล/เบนซิน ที่หดตัวต่อเนื่อง
            เป็นอันดับ 2 รองจาก ม.ค.66 ที่สูงเป็นประวัติการณ์   หดตัวสูงสุดที่มาเลเซีย กัมพูชา และอินโดนีเซีย   โดยเครื่องยนต์ดีเซล มูลค่าต่ าสุดในรอบ 22 เดือน
            แผ่นเหล็กรีดชุบหรือเคลือบ มูลค่าสูงสุดในรอบ 20 เดือน  ❖ สินค้าที่หดตัวสูง มันส าปะหลัง หดตัวครั้งแรกในรอบ  ❖ สินค้าที่ขยายตัวสูงจากกลุ่มเหล็ก (แผ่นเหล็กกล้า
            แผ่นเหล็กกล้าเจือรีด +1.1 เท่า มูลค่าสูงสุดในรอบ 8 เดือน  5 เดือน จากกัมพูชา ส าหรับลวดทองแดงและอาหารปรุงแต่ง  เจือรีด แผ่นเหล็กรีดชุบหรือเคลือบ และแผ่นเหล็ก
            และกระเป๋า +1.7 เท่า                มูลค่าต่ าสุดในรอบ 13และ 17เดือน ตามล าดับ  ไม่เป็นสนิม มูลค่ารวม +1.4 พันลบ. (+34.6%))
         ❖ สินค้าที่หดตัวสูงสุด ฟอยล์อะลูมิเนียม และปั้นจั่น (มูลค่า ❖ การใช้สิทธิเพิ่มขึ้น แผ่นเหล็กรีดชุบหรือเคลือบ มูลค่า ❖ ข้อสังเกต สินค้าที่มีมูลค่าสูงเป็นประวัติการณ์
            ต่ าสุดในรอบ 11 เดือน) ส าหรับรถขุดดิน ปลาปรุงแต่ง   สูงสุดในรอบ 24 เดือน ส าหรับรถจักรยานยนต์และ  ได้แก่ แผ่นเหล็กไม่เป็นสนิม และโพลิเมอร์ของ
            แม้จะหดตัว แต่มูลค่าสูงสุดในรอบ 5และ 3เดือน ตามล าดับ  สารแต่งกลิ่นผลิตเครื่องดื่ม มีมูลค่าสูงสุดป็นประวัติการณ์  สไตรีน ส าหรับเครื่องควบคุมอัตโนมัติ มูลค่าใช้สิทธิ
         ❖ ข้อสังเกต สินค้าที่ขยายตัวต่อเนื่อง ได้แก่ เหล็กโครงสร้าง ❖ ข้อสังเกต รถยนต์นั่ง และส่วนประกอบยานยนต์ หดตัว   สูงสุดเป็นประวัติการณ์ต่อเนื่องเป็นเดือนที่ 2
            ลวดทองแดง (มูลค่าสูงเป็นประวัติการณ์) และแอปเปิ้ลสด  โดยรถยนต์นั่ง แม้จะหดตัว แต่มูลค่าสูงสุดในรอบ 6 เดือน
           กลุ่มความตกลงอื่น
           • กลุ่มความตกลงที่ขยายตัว ได้แก่ ไทย-ออสเตรเลีย มูลค่าใช้สิทธิ +1.6 เท่า สูงสุดในรอบ 104 เดือน (ข้าวบาร์เลย์ +77.4 เท่า และถ่านหิน +81.1%) RCEPมูลค่าใช้สิทธิสูงเป็นประวัติการณ์
            สิทธิหลักจากจีน เกาหลีใต้ และญี่ปุ่น สัดส่วนร้อยละ 54 26 และ 19 ตามล าดับ (จากส่วนประกอบเครื่องยนต์ โพลิเมอร์ของโพรพิลีน) อาเซียน-เกาหลี มูลค่าสูงสุด
            ในรอบ 7 เดือน (แผ่นเหล็กรีดเย็นไม่เจือไม่ชุบ และน้ ามันส าเร็จรูป) และอาเซียน-อินเดีย มูลค่าสูงเป็นอันดับ 2 รองจาก ส.ค.65 ที่สูงเป็นประวัติการณ์ (พริกแห้งบด)
           • กลุ่มความตกลงที่หดตัว ได้แก่ ไทย-นิวซีแลนด์ มูลค่าต่ าสุดในรอบ 17 เดือน และหดตัวต่อเนื่องเป็นเดือนที่ 5 (นมและครีมที่เติมน้ าตาล -72.6%) อาเซียน-ญี่ปุ่น
            หดตัวครั้งแรกในรอบ 17 เดือน (ตัวเร่งปฏิกิริยาคะตะไลส์ -72.8%) และอาเซียน-ออสเตรเลีย-นิวซีแลนด์ หดตัวเล็กน้อย (นมและครีมที่เติมน้ าตาล -58.8%)
                                                                    ส่วนวิเคราะห์และติดตามการจัดเก็บภาษีอากร ศปข. เมษายน 2566
          ข้อข้อบคุณข้้อมููลจากเว็บไซต่์ : กร์มูศัุลกากร์
          http://www.customs.go.th/data_files/309615d75b1c1c147203f04475498f8b.pdf

        50
        50 May-June 2023
   47   48   49   50   51   52   53   54   55   56   57