Page 53 - ฉบับที่ 3-66-E-Book_วารสาร_พลาสติก_พฤษภาคม-มิถุนายน 2566
P. 53

รายงานสถิิติินำเข้้า-ส่งออก



                              สถานการณ์การค้าระหว่างประเทศ เดือนมีนาคม 2566



                                     มูลค่าส่งออก 27,654 Mil. USD  4.2% (YoY) (หักน้ ามันและทองค า 25,249 Mil. USD
           การส่งออก                 0.4% (YoY)) หดตัวต่อเนื่องเป็นเดือนที่ 6 จากกลุ่มอัญมณีและเครื่องประดับ กลุ่มพลาสติก
                                                                    
                               ของท าด้วยพลาสติก กลุ่มยาง ของท าด้วยยาง และกลุ่มอิเล็กทรอนิกส์

                                                  มูลค่าส่งออกในสกุลเงินบาท 942,939 ลบ. เพิ่มขึ้น 20,662 ลบ. (+2.2%) ขยายตัว
                                     (-37.3%)
             สินค้าหลัก  ทองค้ำ      (+15.9%)     เป็นครั้งแรกในรอบ 4 เดือน (หักน้ ามันและทองค า มูลค่าอยู่ที่ 860,929 ลบ. (+6.3%))
                                      (-4.8%)
                     หน่วยบันทึกข้อมูล
                                                   ประเทศคู่ค้าหลักขยายตัวทั้งหมด ได้แก่ สหรัฐอเมริกา จีน และญี่ปุ่น โดยญี่ปุ่นขยายตัวสูงสุด
 วงจรรวมอิเล็กทรอนิกส์  รถยนต์นั่ง                 รองลงมา คือ สหรัฐอเมริกา อินโดนีเซีย และอินเดีย ขณะที่หดตัวสูงสุดอยู่ที่ สวิตเซอร์แลนด์ และ
                                                   ออสเตรเลีย ตามล าดับ รวมถึงกลุ่มอาเซียนขยายตัวเกือบทั้งหมด ยกเว้นกัมพูชาหดตัวเพียงเล็กน้อย
                     ยุทโธปกรณ์ทำงทหำร (+46.7 เท่า)
              เพิ่มขึ้น  น ้ำตำล     (+85.5%)      สินค้าที่ขยายตัวสูง ได้แก่ ยุทโธปกรณ์ทางทหาร และเรือยก/แท่นขุดเจาะลอยน้ า มูลค่ารวม
                                                   ราว 15,400 ลบ. (ปีก่อน 211 ลบ.) กลุ่มอิเล็กทรอนิกส์ (โซลาร์เซลล์ โทรศัพท์และอุปกรณ์
                     โซลาร์เซลล์     (+77.5%)      เครื่องปรับอากาศ หม้อแปลงไฟฟ้า) กลุ่มยานยนต์ (รถยนต์นั่ง รถจักรยานยนต์ รถกระบะ
                                                   ส่วนประกอบยานยนต์) รวมถึง น้ าตาล มูลค่าส่งออกสูงเป็นประวัติการณ์
                     ทองค า          (-37.3%)      สินค้าที่ลดลง ได้แก่ ทองค า (สวิสเซอร์แลนด์ และสิงคโปร์) ยางธรรมชาติ (มาเลเซีย และ จีน)
             ลดลง    ยางธรรมชาติ     (-37.1%)      และหน่วยบันทึกข้อมูล (จีน ฮ่องกง และญี่ปุ่น) ทั้งหมดหดตัวต่อเนื่อง ส าหรับสินค้าเพชร

                     หน่วยบันทึกข้อมูล  (-4.8%)    หดตัวสูงสุดที่อินเดีย และเครื่องยนต์เบนซิน หดตัวสูงที่ฮ่องกง และนิวซีแลนด์
             ภาพรวมสินค้าเกษตร
               สินค้าที่ขยายตัวสูง ได้แก่ น้ าตาล มูลค่าสูงเป็นประวัติการณ์ต่อเนื่องหลังจากเดือนก่อนเคยสูงเป็นประวัติการณ์ (+85.5%) ขยายตัวสูงสุดที่ตลาดหลัก
               อินโดนีเซีย (+1.0 เท่า) และฟิลิปปินส์ ทุเรียนสด (+1.7 เท่า) ขยายตัวต่อเนื่องเป็นเดือนที่ 5 ตามปริมาณส่งออกที่เพิ่มขึ้น ตลาดหลักและขยายตัวสูงสุด
               จากจีน (+2.0 เท่า) ยางสังเคราะห์ (+50.5%) ขยายตัวต่อเนื่องเป็นเดือนที่ 21 ตลาดหลักและขยายตัวสูงที่จีน
               ส่งออกลดลงสูงสุด ได้แก่ ยางธรรมชาติ (-37.1%) จากปริมาณและราคาที่ลดลง หดตัวสูงสุดที่ มาเลเซีย และจีน ของปรุงแต่งส าหรับเลี้ยงสัตว์
               (-20.0%) ลดลงที่ตลาดหลักสหรัฐอเมริกา และแป้งมันส าปะหลัง (-27.4%) หดตัวต่อเนื่องเป็นเดือนที่ 4 จากตลาดหลักจีน และอินโดนีเซีย

                                                                   7.1% (YoY) หดตัวเป็นครั้งแรกในรอบ 3 เดือน
                                     มูลค่าน าเข้า 24,936 Mil. USD 
            การน าเข้า         จากกลุ่มเชื้อเพลิง และกลุ่มอะลูมิเนียม (หักน้ ามัน และทองค า 20,726 Mil. USD   0.7%)

                                                                                        สินค้าน าเข้าหลัก
               มูลค่าน าเข้าในรูปเงินบาท 860,535 ลบ. ลดลง 9,019 ลบ. หรือร้อยละ 1.0 หดตัวเป็นครั้งแรก
               ในรอบ 3 เดือน (หากหักน้ ามันและทองค า ขยายตัวร้อยละ 7.3)            น ้ำมันดิบ            (-37.3%)
      8544                                                                         วงจรรวมอิเล็กทรอนิกส์  (+11.2%)
               ประเทศคู่ค้าหลัก ได้แก่ จีน และสหรัฐอเมริกา โดยเฉพาะจีนขยายตัวสูงสุด จากรถยนต์นั่ง
               ไดโอด ทรานซิสเตอร์ และแผ่นซิลิคอนเวเฟอร์ รวมถึง กลุ่มอาเซียน 5 ขยายตัวจากน้ ามันดิบ   ก๊าซธรรมชาติ  (-29.7%)
               ขณะที่ญี่ปุ่น หดตัวจากตัวเร่งปฏิกิริยาคะตะไลส์ และกลุ่ม CLMV หดตัวจากโทรศัพท์และอุปกรณ์
               สินค้าที่หดตัวสูงจากกลุ่มเชื้อเพลิง (น้ ามันดิบ มูลค่าต่ าสุดในรอบ 14 เดือน ก๊าซธรรมชาติ หดตัวครั้งแรก  สินค้าน าเข้า เพิ่มขึ้น/ลดลง สูงสุด
               ในรอบ 3 เดือน และน้ ามันส าเร็จรูป ต่ าสุดในรอบ 21 เดือน) และกลุ่มอิเล็กทรอนิกส์   รถยนต์นั่ง  (+1.5 เท่า)
               (โทรศัพท์และอุปกรณ์ และส่วนประกอบคอมพิวเตอร์) รวมถึง อะลูมิเนียม (อันรอต) ชุดตรวจโรค  ทองค า  (+90.2%)
               และวัคซีน นอกจากนี้ ปีก่อนน าเข้าเรือสนับสนุนรื้อถอนท่อขนส่งปิโตรเลียมจากสิงคโปร์ จ านวน 1 ล า  เรือยก/แท่นขุดเจาะลอยน้ า  (+253.9 เท่า)
               สินค้าที่ขยายตัวสูงจากกลุ่มอัญมณี (ทองค า ขยายตัวครั้งแรกในรอบ 4 เดือน และพลอยเจียระไน
               ขยายตัวต่อเนื่อง 25 เดือน) กลุ่มอิเล็กทรอนิกส์ (วงจรรวมอิเล็กทรอนิกส์ และไดโอด) และ  น้ ามันดิบ  (-37.3%)
               กลุ่มยานยนต์ (รถยนต์นั่ง มูลค่าสูงเป็นประวัติการณ์ และส่วนประกอบยานยนต์) รวมถึง ข้าวสาลี   ก๊าซธรรมชาติ  (-29.7%)
               มูลค่าสูงเป็นประวัติการณ์ นอกจากนี้ ปีนี้มีการน าเข้าเรือยก/แท่นขุดเจาะลอยน้ า มูลค่า 6,433 ลบ.  น้ ามันส าเร็จรูป  (-47.1%)

            ภาพรวมการค้า             มูลค่าการค้า 52,590 Mil. USD หดตัว 3,120 Mil. USD หรือร้อยละ     5.6 (YoY)
                                                                                             
                                     หดตัวต่อเนื่องเป็นเดือนที่ 2

            • มูลค่าการค้ารวมในรูปเงินบาท 1.803 ล้านล้านบาท สูงสุดในรอบ 6 เดือน เพิ่มขึ้น 11,643 ล้านบาท
               หรือร้อยละ        0.6 (YoY) และกลับมาขยายตัวอีกครั้งหลังจากเดือนก่อนหดตัว
                       
            • ดุลการค้าเกินดุล 2,719 Mil. USD (82,403 ล้านบาท) เป็นครั้งแรกในรอบ 12 เดือน โดยเกินดุลสูงสุดจากสหรัฐอเมริกา
                                                                       ส่วนวิเคราะห์และติดตามการจัดเก็บภาษีอากร ศปข.กรมศุลกากร เมษายน 2566
          ข้อข้อบคุณข้้อมููลจากเว็บไซต่์ : กร์มูศัุลกากร์
          http://www.customs.go.th/data_files/309615d75b1c1c147203f04475498f8b.pdf

                                                                                                         51
                                                                                                         51
                                                                                   May-June 2023
   48   49   50   51   52   53   54   55   56   57   58