Page 55 - ฉบับที่ 3-66-E-Book_วารสาร_พลาสติก_พฤษภาคม-มิถุนายน 2566
P. 55

รายงานสถิิติินำเข้้า-ส่งออก



                                   สถานการณ์การส่งออก เดือนมีนาคม 2566


                   มูลค่าการส่งออก 27,654 ล้านดอลลาร์สหรัฐ 4.2% (YoY) (หักทองค า0.4%) หดตัวต่อเนื่องเป็นเดือนที่ 6 ขณะที่มูลค่าส่งออกในรูปเงินบาท
            942,939 ล้านบาท ขยายตัว 2.1 หมื่นล้านบาท 2.2% (หักทองค า 6.3%) ครั้งแรกในรอบ 4 เดือน ส่วนหนึ่งเพราะเงินบาทปี 66 อยู่ในระดับที่อ่อนค่า
                                                                           1
            กว่าปี 65 (เดือนปัจจุบันอัตราแลกเปลี่ยนอยู่ที่ 34.0973 บาท/$ ขณะที่ปีก่อน 31.9568 บาท/$ ) อย่างไรก็ตามการส่งออกไทยยังอยู่ในทิศทางหดตัว
            ท่ามกลางสถานการณ์เศรษฐกิจโลกที่มีความผันผวน
                   สินค้าส่งออกหลัก     (%YoY)      สินค้าส่งออก เพิ่มขึ้น สูงสุด   (%YoY)  สินค้าส่งออก ลดลง สูงสุด   (%YoY)
              ทองค า        53,488 ลบ. - 37.3%  ยุทโธปกรณ์  + 9,850 ลบ. +46.7เท่า  ทองค า      - 31,835 ลบ.  - 37.3%
              หน่วยบันทึกข้อมูล  53,225 ลบ. - 4.8%  น้ าตาล  + 8,093 ลบ. + 85.5%  ยางธรรมชาติ   - 6,545 ลบ.  - 37.1%
              รถยนต์นั่ง    38,276 ลบ. + 15.9%  โซลาร์เซลล์  + 6,940 ลบ. + 77.5%  หน่วยบันทึกข้อมูล  - 2,701 ลบ.  - 4.8%
           ประเทศ/กลุ่มประเทศคู่ค้าหลัก  สถานการณ์เศรษฐกิจประเทศคู่ค้าในเดือนปัจจุบันยังคงเป็นปัจจัยที่ไม่เอื้อต่อการส่งออกไทย โดยธนาคารกลางสหรัฐอเมริกาปรับขึ้นอัตราดอกเบี้ย
                                                                          2
          เป็นร้อยละ 5 (23 มี.ค. 66) และอัตราเงินเฟ้อพื้นฐานในสหรัฐฯยังคงสูงต่อเนื่องที่ 5.6% จากราคาที่อยู่อาศัยที่เพิ่มขึ้น  เช่นเดียวกับธนาคารกลางยุโรปที่ปรับขึ้นอัตราดอกเบี้ยเป็นร้อยละ
          3.5 (22 มี.ค. 66) รวมถึงสงครามรัสเซีย-ยูเครนยังคงตึงเครียดหลังรัสเซียระงับการเข้าร่วมสนธิสัญญาลดอาวุธนิวเคลียร์ New Start ขณะที่ทางฝั่งตะวันออก หนี้สาธารณะของญี่ปุ่น
                                                                                     3
                              4
          ไต่ระดับสูงขึ้นอยู่ที่ 260% ของ GDP  และมีรายงานเกี่ยวกับค่าครองชีพโดย Teikoku Databank ว่าอาหารกว่า 3,400 รายการปรับราคาขึ้นในเดือนมีนาคม 66 และสินค้ากว่า 4,900 รายการ
          จะปรับราคาขึ้นในเดือนเมษายน 66 ส าหรับจีนได้เปิดเผยตัวเลขการค้า 2 เดือนแรกปี 66 หลังเปิดประเทศพบว่าการน าเข้าและการส่งออก หดตัว 10.2% และ 6.8% ตามล าดับ อย่างไรก็ดี
          การส่งออกไปกลุ่มประเทศอาเซียนยังคงขยายตัวได้  5
            USA     16.3%                                                    CHINA     11.1%
            154,132 ลบ. [+8.6%YoY]                                           105,030 ลบ. [+2.6%YoY]
            (ในรูป $ ขยายตัว 1.7% ครั้งแรกในรอบ 4 เดือน)                     (ในรูป $ หดตัว 3.8% ต่อเนื่อง 10 เดือน)
           ขยายตัวครั้งแรกในรอบ 3 เดือนจากโซลาร์เซลล์                       ขยายตัวครั้งแรกในรอบ 4 เดือนจากทุเรียนสด เรือปั้นจั่นส าหรับ
           โทรศัพท์และอุปกรณ์ และเครื่องปรับอากาศ                           รื้อถอนโครงสร้างแท่นผลิต ยางสังเคราะห์ และมันส าปะหลัง
            EU     7.7% (ส่วนใหญ่เป็นเนเธอร์แลนด์ เยอรมนี อิตาลี ฝรั่งเศส)  JAPAN     9.1% : 85,522 ลบ. [+17.5%YoY]
            72,984 ลบ. [-1.0%YoY]                                            (ในรูป $ ขยายตัว 10.2% ครั้งแรกในรอบ 7 เดือน)
            (ในรูป $ หดตัว 7.3% ครั้งแรกในรอบ 3 เดือน)                       แม้จะหักยุทโธปกรณ์ส าหรับฝึก ยังขยายตัวได้ครั้งแรกในรอบ
            หดตัวต่อเนื่อง 2 เดือนจากเครื่องบินโดยสาร ยางธรรมชาติ  ASEAN 5    14.5%  4 เดือนจากรถยนต์นั่ง เครื่องประดับ รถจักรยานยนต์ ไม้ และ
            ปริ๊นเตอร์ เครื่องประดับ ถุงมือยาง และอาหารสัตว์                 โทรศัพท์และอุปกรณ์
                                                           137,011 ลบ. [+4.5%YoY]
            CLMV    9.4% 88,537 ลบ. [+3.0%YoY] (ในรูป $ หดตัว 3.5% ต่อเนื่อง 5 เดือน)  (ในรูป $ หดตัว 2.1% ต่อเนื่องเป็นเดือนที่ 2)
            ขยายตัวครั้งแรกในรอบ 4 เดือน โดยขยายตัวสูงสุดที่สปป.ลาว ถึง 2,041 ลบ.   ขยายตัวหลังจากหดตัวในเดือนก่อน โดยขยายตัวสูงสุดที่อินโดนีเซียถึง 3,877 ลบ. จากน้ าตาล
            จากน้ ามันส าเร็จรูป นอกจากนี้รถยนต์นั่ง โซลาร์เซลล์ ขยายตัวสูงที่เวียดนาม  นอกจากนี้รถยนต์นั่ง ขยายตัวสูงที่ฟิลิปปินส์ และหน่วยบันทึกข้อมูล ขยายตัวสูงที่มาเลเซีย
                 Highlights                    วัตถุดิบอาหารไทยส่งออกได้ดี ท่ามกลางคาดการณ์ภัยแล้ง ปี 66


                      แม้การส่งออกไทยจะมีแนวโน้มชะลอตัวในปี 66 แต่ยังได้รับอานิสงส์จากสินค้ากลุ่มอาหารที่ส่งออกขยายตัวได้ดี ส่วนหนึ่งเป็นผลพวงต่อเนื่องจากวิกฤตความมั่นคง
                                                                                                    7
            ทางอาหารหลังมีสงครามรัสเซีย-ยูเครน รวมถึงภาวะเงินเฟ้อ  และพยากรณ์อากาศปี 66 ว่าทั่วโลกจะเผชิญปรากฏการณ์เอลนีโญ (อากาศร้อนกว่าปกติ ภัยแล้ง) จึงมีการควบคุม
                                             6
            การส่งออกอาหารบางประเภท และกักตุนอาหารในหลายประเทศ ประกอบกับความต้องการอาหารขยายตัวหลังจากกิจกรรมทางเศรษฐกิจและการท่องเที่ยวเพิ่มขึ้นหลังสถานการณ์
            โรคระบาดทุเลาลง ข้อสังเกตคือ ผลไม้ไทยได้รับความนิยมและพึ่งพาการส่งออกไปจีนเป็นหลัก ทั้งนี้สินค้าอาหารที่ส่งออกขยายตัวสูงในเดือนมีนาคม 66 มีดังนี้
                  น้้าตาล ส่งออกสูงสุดเป็นประวัติการณ์ และขยายตัว 8.1 พัน ลบ. ต่อเนื่อง 3 เดือน (ตามปริมาณและราคาส่งออกเฉลี่ยที่เพิ่มขึ้น) ขยายตัวสูงสุดที่ตลาดหลัก อินโดนีเซีย
            เพิ่มขึ้นถึง 4,230 ลบ. รองลงมาเป็น ฟิลิปปินส์ (+1,436 ลบ.) และ ลิเบีย (+516 ลบ. ซึ่งปีก่อนไม่มีส่งออก) ทั้งนี้ธ.กรุงศรีฯ คาดการณ์ว่าทั้งความต้องการบริโภคน้ าตาลโลก และ
            ผลผลิตอ้อยไทยในปีนี้จะยังขยายตัว เป็นปัจจัยบวกต่อการส่งออก
                  ทุเรียนสด ขยายตัว 4.9 พัน ลบ. ต่อเนื่องเป็นเดือนที่ 5 (ตามราคาและปริมาณส่งออกที่เพิ่มขึ้น) สูงสุดที่ตลาดหลัก จีน (สัดส่วน 92%) ขยายตัวถึง 4,745 ลบ. รองลงมา
                                                                                                        8
            เป็นอินโดนีเซีย เพิ่มขึ้น 54 ลบ. อย่างไรก็ตามจีนปลูกทุเรียนในไห่หนานได้เองส าเร็จแล้ว และจะเก็บเกี่ยวในเดือน มิ.ย. 66 ปริมาณ 2,450 ตัน เพื่อขายในประเทศ  ท าให้จีน
            มีทางเลือกในการบริโภคทุเรียนที่หลากหลายมากขึ้น ทั้งส่วนที่ปลูกเอง และส่วนที่น าเข้าจากไทย มาเลเซีย และเวียดนาม ซึ่งเป็นปัจจัยเสี่ยงต่อการส่งออกทุเรียนไทยในอนาคต
                  มันส้าปะหลัง ส่งออกสูงสุดในรอบ 10 เดือน และขยายตัว 2.8 พัน ลบ. ต่อเนื่อง 4 เดือน (ตามปริมาณและราคาส่งออกเฉลี่ยที่เพิ่มขึ้น) ขยายตัวสูงสุดที่ตลาดหลัก จีน
            (สัดส่วน 94%) เพิ่มขึ้น 2,324 ลบ. รองลงมาเป็น ฮ่องกง (+413 ลบ.) การส่งออกขยายตัวได้รับแรงหนุนอุปสงค์จากการเปิดประเทศของจีน
                  ข้าว ขยายตัว 1.6 พัน ลบ. ต่อเนื่องเป็นเดือนที่ 14 ตามราคาส่งออกเฉลี่ยและปริมาณที่เพิ่มขึ้น ส่วนใหญ่เป็นข้าวขาวและข้าวหอมมะลิ สูงสุดที่อิรัก (+625 ลบ.) รองลงมา
            เป็นการส่งออกไปประเทศในทวีปแอฟริกา (บริโภคข้าวเป็นอาหารหลัก) ได้แก่ แอฟริกาใต้ แทนซาเนีย (ปีก่อนส่งออกเล็กน้อย) และแองโกลา ขยายตัวรวมกว่า 1,117 ลบ.
                  เนื้อไก่สด แช่เย็นหรือแปรรูป ขยายตัว 1.5 พัน ลบ. ต่อเนื่อง 11 เดือน (ตามปริมาณและราคาส่งออกเฉลี่ยที่เพิ่มขึ้น) ขยายตัวสูงสุดที่จีน เพิ่มขึ้น 899 ลบ. (+1.6 เท่า)
            รองลงมาเป็น ญี่ปุ่น (+190 ลบ.) และเกาหลีใต้ (+157 ลบ.)
                  น้้ามันปาล์ม ส่งออก 7.2 พัน ลบ. สูงสุดเป็นประวัติการณ์ และขยายตัวต่อเนื่อง 6 เดือน (จากปริมาณส่งออกที่เพิ่มขึ้น 38% ขณะที่ราคาเฉลี่ยหดตัวต่อเนื่อง 7 เดือน)
            ขยายตัวสูงสุดที่ตลาดหลัก อินเดีย (+1,228 ลบ.) โดยความต้องการน้ ามันปาล์มของอินเดียยังขยายตัว ขณะที่อินโดนีเซียยังควบคุมปริมาณการส่งออกน้ ามันปาล์ม ตั้งแต่ 1 ม.ค. 66
                  น้้าเชื่อม ส่งออก 2.9 พัน ลบ. สูงสุดเป็นประวัติการณ์ และขยายตัวต่อเนื่องเป็นเดือนที่ 3 หลังจากหดตัว 4 เดือนก่อนหน้า (จากปริมาณและราคาส่งออกเฉลี่ยที่เพิ่มขึ้น)
            ขยายตัวสูงสุดที่ตลาดหลัก จีน (สัดส่วน 93%) เพิ่มขึ้น 1,327 ลบ.
                  มะพร้าว ส่งออก 2.2 พัน ลบ. สูงสุดเป็นประวัติการณ์ และขยายตัวต่อเนื่อง 19 เดือน (จากปริมาณส่งออกที่เพิ่มขึ้น ขณะที่ราคาส่งออกเฉลี่ยเพิ่มขึ้นครั้งแรกในรอบ
            6 เดือน) ขยายตัวสูงสุดที่ตลาดหลัก จีน (สัดส่วน 89%) เพิ่มขึ้น 793 ลบ.
                                                 7
               1
          หมายเหตุ : กรมศุลกากร  3  Vovworld  5  South China Morning Post  Reuters
               2  ประชาชาติธุรกิจ Bond Vigilantes  6  ประชาไท  8  ข่าวสด  ส่วนวิเคราะห์และติดตามการจัดเก็บภาษีอากร ศปข. เมษายน 2566
                        4
          ข้อข้อบคุณข้้อมููลจากเว็บไซต่์ : กร์มูศัุลกากร์
          http://www.customs.go.th/data_files/309615d75b1c1c147203f04475498f8b.pdf
                                                                                                         53
                                                                                                         53
                                                                                   May-June 2023
   50   51   52   53   54   55   56   57   58   59   60